วันศุกร์ที่ 4 กันยายน พ.ศ. 2558

บล็อกห้อง

                                                       

ประวัติส่วนตัว

1 ด.ช.พีรพงศื  ทองทราย

2 เกิดวันที่13 เดือน พฤษภาคม พ.ศ. 2543

3 อยู่บ้านเลขที่ 20 หมู่ 1 ซอยจอมทอง  เขตจอมทอง  แขวงจอมทอง

กรุงเทพมหานคร

4 เบอร์โทร 02-476-22427

5 facebook  น นิลเด็กหลังวัด

6  วิชาที่ชอบ คือ  สังคม  วิทยาศาสตร์

7  วิชาที่ไม่ชอบ คือ  อังกฤษ

8  สีที่ชอบ คือ สีแดง

9 อยู่โรงเรียน วัดราชโอรส

10 ศาสนา พุทธ

11  งานอดิเรก คือ เด็กส่งของ

12  อายุ 15ปี

13อหารที่ชอบ คือ แกงส้ม

14 มีนิสัย เป็นคนเฮฮา


วันอังคารที่ 1 กันยายน พ.ศ. 2558

                                                      บทที่ 2




 เอกสารที่เกี่ยวข้อง ในการจัดท าโครงงานคอมพิวเตอร์ พัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา เว็บไซต์ ASEAN WROLD ให้ ความรู้เกี่ยวกบั ประชาคมอาเซียน คณะผจู้ดัทา ไดศ้ึกษาขอ้ มูลเอกสารที่เกี่ยวขอ้งดงัน้ี 2.1 ประชาคมอาเซียน 2.2 เว็บไซต์ ( Website ) 2.3 โปรแกรม Adobe Dreamweaver 2.1 ประชาคมอาเซียน ประชาคมอาเซียน หรือ สมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวนัออกเฉียงใต้(Association of South East Asian Nations : ASEAN) เป็นองคก์รระหวา่ งประเทศระดบั ภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ มี จุดเริ่มตน้โดยประเทศไทย มาเลเซีย และฟิลิปปินส์ไดร้่วมกนัจดัต้งั สมาคมอาสา (Association of South East Asia) เมื่อเดือน ก.ค.2504 เพอื่ การร่วมมือกนั ทาง เศรษฐกิจ สงัคมและวฒั นธรรม แต่ ด าเนินการไปได้เพียง 2 ปี ก็ตอ้งหยดุ ชะงกัลง เนื่องจากความผกผนั ทางการเมืองระหวา่ งประเทศ อินโดนีเซียและประเทศมาเลเซีย จนเมื่อมีการฟ้ืนฟูสมั พนัธท์ างการฑูตระหวา่ งสองประเทศ จึงไดม้ี การแสวงหาหนทางความร่วมมือกนัอีกคร้ัง สมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวนัออกเฉียงใต้จึงก่อต้งัข้ึนเมื่อวนั ที่8 ส.ค.2510 หลังจากการ ลงนามในปฎิญญาสมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวนัออกเฉียงใต้(Declaration of ASEAN Concord) หรือเป็นที่รู้จกักนั ในอีกชื่อหน่ึงว่า ปฏิญญากรุงเทพ (The Bangkok Declaration) โดยสมาชิกผูก้่อต้งัมี 5 ประเทศไดแ้ก่ อินโดนิเซีย ฟิ ลิปปิ นส์ สิงคโปร์ และไทย ซ่ึงผแู้ทนท้ง ั 5 ประเทศที่ร่วมลงนามใน ปฏิญญา ประเทศไทยหลงัจากจดัต้งั ประชาคมอาเซียนเมื่อ 8 ส.ค.2510 แล้ว อาเซียนได้เปิ ดรับสมาชิก ใหม่จากประเทศในภูมิภาคเอเชียตะวนัออกเฉียงใตเ้พมิ่ เติมเป็นระยะ ตามลา ดบัไดแ้ก่ -บรูไนดารุสซาลาม เข้าเป็ นสมาชิกเมื่อ 8 มกราคม 2527 -สาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม เข้าเป็ นสมาชิกเมื่อ 28 กรกฏาคม 2538 -สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว เข้าเป็ นสมาชิกเมื่อ 23 กรกฎาคม 2540 -สหภาพพม่า เขา้เป็นสมาชิกเมื่อ23 กรกฏาคม 2540 -ราชอาณาจกัรกมั พชู า เขา้เป็นสมาชิกเมื่อ30 เมษายน 2542 วัตถุประสงค์ในการก่อต้ังประชาคมอาเซียน ประชาคมอาเซียน ก่อต้งัข้ึนโดยมีวตัถุประสงค์เริ่มแรกเพื่อสร้างสันติภาพในภูมิภาคเอเชีย ตะวนัออกเฉียงใต้อนั นา มาซ่ึงเสถียรภาพทางการเมืองและความเจริญกา้วหน้าทางเศรษฐกิจ สังคม และวฒั นธรรม และเมื่อการค้าระหว่างประเทศในโลกมีแนวโน้มกีดกันการค้ารุนแรงข้ึน ท าให้ อาเซียนได้หันมามุ่งเน้นกระชับและขยายความร่วมมือด้านเศรษฐกิจการค้าระหว่างกันมากข้ึน วตัถุประสงคห์ ลกัที่กา หนดไวใ้นปฏิญญาอาเซียน (The ASEAN Declaration) มี 7 ประการดงัน้ี 1. ส่งเสริมความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจความกา้วหนา้ทางสงัคมและวฒั นธรรม 2. ส่งเสริมการมีเสถียรภาพ สนั ติภาพและความมนั่ คงของภูมิภาค 3. ส่งเสริมความร่วมมือทางเศรษฐกิจ สงัคม วฒั นธรรม วชิาการวทิยาศาสตร์ และด้านการบริหาร 4. ส่งเสริมความร่วมมือซ่ึงกนัและกนั ในการฝึกอบรมและการวจิยั 5. ส่งเสริมความร่วมมือในดา้นเกษตรกรรมและอุตสาหกรรม การค้า การคมนาคม การสื่อสาร และปรับปรุงมาตรฐานการด ารงชีวิต 6. ส่งเสริมการมีหลกัสูตรการศึกษาเอเชียตะวนัออกเฉียงใต้ 7. ส่งเสริมความร่วมมือกบัองคก์รระดบั ภูมิภาคและองคก์รระหวา่ งประเทศ 2.2 เว็บไซต์ ( Website ) เว็บไซต์(อังกฤษ: Website, Web site หรือ Site) หมายถึง หน้าเว็บเพจหลายหน้า ซึ่งเชื่อมโยง กนัผ่านทางไฮเปอร์ลิงก์ส่วนใหญ่จดั ทา ข้ึนเพื่อนา เสนอขอ้ มูลผ่านคอมพิวเตอร์โดยถูกจดัเก็บไวใ้น เวิลด์ไวด์เว็บ หน้าแรกของเว็บไซต์ที่เก็บไวท้ ี่ชื่อหลักจะเรียกว่า โฮมเพจ เว็บไซต์โดยทั่วไปจะ ใหบ้ ริการต่อผใู้ชฟ้ รีแต่ในขณะเดียวกนั บางเวบ็ ไซตจ์า เป็นตอ้งมีการสมคัรสมาชิกและเสียค่าบริการ เพอื่ ที่จะดูขอ้ มูลในเวบ็ไซตน์ ้นั ซ่ึงไดแ้ก่ขอ้ มูลทางวชิาการขอ้ มูลตลาดหลกัทรัพย์หรือขอ้ มูลสื่อต่างๆ ผูท้ า เว็บไซต์มีหลากหลายระดบั ต้งัแต่สร้างเว็บไซตส์ ่วนตวั จนถึงระดบั เว็บไซตส์ าหรับธุรกิจหรือ องคก์รต่างๆ การเรียกดูเวบ็ไซตโ์ดยทวั่ ไปนิยมเรียกดูผา่ นซอฟตแ์วร์ในลกัษณะของ เว็บเบราว์เซอร์ หลักในการออกแบบเว็บไซต์ ข้นั ตอนที่1 กา หนดโครงสร้างของเว็บไซต์ การสร้างเวบ็ไซตน์ ้นัควรเริ่มจากการสร้างแผนผงัของเวบ็ไซตก์ ่อน หรือที่เรียกวา่ Site Map ข้นั ตอนที่2 กา หนดการเชื่อมโยงระหวา่ งเวบ็ เพจ กา หนดการเชื่อมโยงให้เวบ็ เพจแต่ละหนา้เชื่อมโยงถึงกนั เพื่อให้กลับไปกลับมาระหวา่ ง หนา้ต่าง ๆ ได ้โดยแสดงชื่อไฟล์ HTML แต่ละไฟลท์ มี่ ีการเชื่อมโยงสมั พนัธก์ นั ข้นั ตอนที่3 การออกแบบเวบ็ เพจแต่ละหนา้ สามารถออกแบบหนา้เวบ็ เพจแต่ละหนา้ใหส้วยงาม โดยเฉพาะในเวบ็ เพจหน้าแรก ซ่ึงเรียกว่า โฮมเพจนักเรียนควรออกแบบให้สวยงามเพื่อดึงดูดความสนใจของผูเ้ขา้ชมในข้นั ตอนการออกแบบ น้ีบางทีอาจเรียกวา่ การออกแบบเลยเ์อาท์(Lay Out) สามารถท าได้โดยการเขียนลงในกระดาษ หรือใช้ โปรแกรมคอมพวิเตอร์ช่วยในการออกแบบก็ได้ ข้นั ตอนที่4 การสร้างเวบ็ เพจแต่ละหนา้ น าเว็บเพจที่ออกแบบไว้มาสร้างโดยใช้ภาษาhtml หรืออาจใชโ้ปรแกรมสา เร็จรูป เช่น FrontPage, Macromedia Dreamweaverหรือโปรแกรมส าเร็จรูปอื่น ๆ ตามความถนัด ข้นั ตอนที่5 การลงทะเบียนขอพ้นื ที่เวบ็ไซต์ การเผยแพร่เวบ็ไซตท์ ี่สร้างเสร็จแลว้ เขา้สู่ระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ต เพอื่ ใหบ้ ุคคลอื่นๆ สามารถเข้าชมเว็บไซต์ของเราได้ วิธีการคือ นา เวบ็ไซตท์ ี่เราสร้างข้ึนไปไวบ้ นพ้นื ที่ที่ใหบ้ ริการ (Web Hosting) ซ่ึงมีพ้นื ที่ที่ใหบ้ ริการฟรีและแบบที่ตอ้งเสียค่าบริการ ข้นั ตอนที่6 การอัพโหลดเว็บไซต์ หลังจากสร้างเว็บไซต์และลงทะเบียนขอพ้ืนที่ส าหรับฝากเว็บไซต์แล้ว ให้ใช้โปรแกรม ส าหรับอัปโหลด (Upload) เช่นโปรแกรม CuteFTPเพอื่ ให้คนทวั่ โลกสามารถเขา้ชมเวบ็ ไซตข์องเรา ผา่ นทางระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ตได้ หลักในการสร้างเว็บเพจ 1. การวางแผน กา หนดเน้ือหาก่อนลงทา เวบ็ เราจะตอ้งรู้วา่ เราจะทา เวบ็ เกี่ยวกบัอะไรเน้ือหาเป็นอยา่ งไร กลุ่มเป้าหมายเป็นกลุ่มใด ท้งัน้ีเพอื่ ที่เราจะไดน้ า เน้ือหา เหล่าน้นั มาใส่ในเวบ็ เพอื่ แสดงใหรู้้วา่ เน้ือหา โดยรวมเกี่ยวกบัอะไร เช่น เกี่ยวกบัคอมพวิเตอร์ก็ตอ้งมีขอ้ มูลของคอมพวิเตอร์แต่ละชนิดลกัษณะ ราคาแต่ละรุ่นและสถานที่ขายเป็นตน้ ออกแบบมุมมองในหน้าเว็บ (LayOut)คือการจัดวางองค์ประกอบในเวบ็ เพจวา่ ส่วนใดควรจะ มีอะไรอาจทา โดยการร่างใส่กระดาษเปล่า ๆ ไวก้่อนหรือใชโ้ปรแกรมคอมพวิเตอร์ช่วยในการ ออกแบบกไ็ด ้ การใชต้ารางช่วยในการจดัองคป์ ระกอบในหนา้เวบ็ น้นั จะทา ใหเ้วบ็ เพจมีความเป็น ระเบียบยงิ่ ข้ึน และสะดวกต่อการแกไ้ข ปรับปรุง 2. การเตรียมการ เช่น การเตรียมการดา้นขอ้ มูลท้งัที่เป็นเน้ือหา ภาพ เสียง หรือสิ่งจา เป็นต่างๆ ที่นกัเรียนคิดวา่ ตอ้งการจะนา เสนอในการทา เวบ็ เพจน้นั เมื่อเรารู้แลว้วา่ เราจะทา เวบ็ เกี่ยวกบัอะไรการรวบรวมขอ้ มูลก็ มีส่วนสา คญั อยา่ งยงิ่ เช่น ถา้จะทา เวบ็ เกี่ยวกบั โรงเรียน ก็ตอ้งไปหาคติพจน์ประจา โรงเรียน สีประจา โรงเรียน บุคลากรในโรงเรียน ประวัติโรงเรียน ฯลฯ มารวบรวมไว้แลว้หลงัจากน้นัก็เอาขอ้มูลน้นั มา จดัรูปแบบในเวบ็ ต่อไป การหาเครื่องมือในการจดัทา น้นั ก็เป็นเรื่องสา คญั เครื่องมือในที่น้ีหมายถึง โปรแกรมการทา งานต่าง ๆ เช่นโปรแกรมจดัการรูปภาพ เสียง ภาพเคลื่อนไหวต่างๆ โปรแกรมในการ จัดท าเว็บเพจจะใช้โปรแกรมส าเร็จรูปหรือจะใช้ภาษาคอมพิวเตอร์ ในการสร้างต้องเตรียมการให้ พร้อม 3. การจัดท า เมื่อวางแผนและเตรียมการเรียบร้อยแลว้ ก็ถึงเวลาจดัทา อาจจะทา คนเดียว หรือทา เป็นกลุ่ม โดยใช้เครื่องมือที่เตรียมไว้ซ่ึงจะอธิบายถึงวธิีการจดัทา หรือวธิีการสร้างเวบ็ เพจในลา ดบั ต่อไป 4. การทดสอบและการแกไ้ข การสร้างเวบ็ เพจทุกคร้ังควรจะมีการทดสอบก่อนเผยแพร่ทุกคร้ังเพอื่ หาขอ้บกพร่องแลว้นา มา แกไ้ขการทา เวบ็ น้นั เมื่อทา เสร็จและอปัโหลดไปไวใ้นเครื่องเซิร์ฟเวอร์แลว้ ให้ทดลองแนะน าเพื่อนที่ สนิทชิดเช้ือและใชอ้ินเทอร์เน็ตอยู่ลองเปิดดูและใหบ้อกขอ้ผดิพลาดมา เช่น การเชื่อมโยงต่าง ๆ , รูปภาพ และตวัอกัษรวา่ ถูกตอ้งชา้ไป หรือเปล่า หากทดสอบจากเครื่องของตนเองแลว้ ขอ้ผดิพลาด ต่างๆ มกัจะไม่คอ่ ยปรากฏใหเ้ห็นเนื่องจากวา่ ขอ้ มูลต่าง ๆ จะอยใู่ นเครื่องของตนเองและการเชื่อมโยง ต่างๆ เช่นกนั โปรแกรมจะทา การคน้ หาในเครื่องจนพบ ทา ให้เราไม่เห็นขอ้ผดิพลาด หลงัจากทดสอบ แลว้ใหด้า เนินการแกไ้ขขอ้ผดิพลาด 5. การนา เวบ็ เพจต่าง ๆ มารวบรวมเป็นเวบ็ไซต์ เมื่อสร้างเว็บเพจเสร็จ จัดรวบรวม และเรียบเรียงหน้าเวบ็ เพจแต่ละหนา้ ทา การทดสอบ แกไ้ข ปรับปรุงเสร็จแล้วก็สามารถเผยแพร่เวบ็ เพจท้งัหมดออกสู่สาธารณชนในรูปแบบของเวบ็ไซตไ์ด้ 2.3โปรแกรม Adobe Dreamweaver รู้จักกับ Dreamweaver Dreamweaver ถือได้วาเปนเครื่องมือส าหรับ ่ สร้างเวบเพจ และ ดูแลเวบไซต์ที่มีประสิทธิภาพ สูง เป็นที่นิยมใช้ของ Web Master อยางกว้างขวาง ซึ่งเป็นโปรแกรมส าหรับเขียนภาษา HTML โดยเฉพาะ พร้อมท้งัสามารถแทรก Java Scripts และ ลูกเล่นต่างๆได้มากมาย โดยที่ผู้ใช้ไม่ จ าเป็นต้ องรู้หลัก ภาษา HTML มากนัก ซ่ึงช่วยประหยัดเวลา และ ท างานได้สะดวกยงิ่ ข้ึน ประวัติความเป็ นมาของโปรแกรม Dreamweaver อะโดบี ดรีมวีฟเวอร์(Adobe Dreamweaver) หรือชื่อเดิมคือ แมโครมีเดีย ดรีมวีฟเวอร์ (Macromedia Dreamweaver) เป็นโปรแกรมแกไ้ข HTML พัฒนาโดยบริษัทแมโครมีเดีย (ปัจจุบันควบ กิจการรวมกบั บริษทั อะโดบีซิสเตม็ ส์) ส าหรับการออกแบบเว็บไซต์ในรูปแบบ WYSIWYG กบัการ ควบคุมของส่วนแกไ้ขรหสั HTML ในการพฒั นาโปรแกรมที่มีการรวมท้งัสองแบบเขา้ดว้ยกนัแบบน้ี ทา ให้ ดรีมวฟีเวอร์เป็นโปรแกรมที่แตกต่างจากโปรแกรมอื่นๆ ในประเภทเดียวกนั ในช่วงปลายปี ทศวรรษ 2533 จนถึงปี พ.ศ. 2544 ดรีมวีฟเวอร์มีสดั ส่วนตลาดโปรแกรมแกไ้ข HTML อยมู่ ากกวา่ 70% ดรีมวฟีเวอร์มีท้งัในระบบปฏิบตัิการแมคอินทอช และไมโครซอฟทว์นิโดวส์ดรีมวฟีเวอร์ยงัสามารถ ทา งานบนระบบปฏิบตัิการแบบยนู ิกซ์ผา่ นโปรแกรมจา ลองอยา่ ง WINEได้รุ่นล่าสุดคือดรีมวีฟเวอร์ CS5 การท างานกับภาษาต่างๆ ดรีมวีฟเวอร์สามารถทา งานกบั ภาษาคอมพวิเตอร์ในการเขียนเวบ็ไซตแ์ บบไดนามิค ซ่ึงมีการ ใช้ HTML เป็นตวัแสดงผลของเอกสารเช่น ASP, ASP.NET, PHP, JSP และ ColdFusion รวมถึงการ จดัการฐานขอ้ มูลตา่ งๆ อีกดว้ยและในเวอร์ชนัล่าสุด(เวอร์ชนั CS4) ยงัสามารถทา งานร่วมกบั XML และ CSS ไดอ้ยา่ งง่ายดาย ความสามารถของ Dreamweaver ในการเขียนเวบ็ เพจจะมีลกัษณะคลา้ยกบัการพมิพง์านในโปรแกรม Text Editor ทวั่ ไป คือว่า มนั จะเรียงชิดซ้ายบนตลอดเวลา ไม่สามารถยา้ย หรือ นา ไปวางตา แหน่งที่ตอ้งการไดท้ นั ที่เหมือน โปรแกรมกราฟิกเพราะฉะน้นั หากเราตอ้งการจดัวางรูปแบบตามที่เราตอ้งการก็ใชต้าราง Table เข้ามา ช่วยจดัตา แหน่ง ซ่ึงเมื่อมีการจดัวางรูปแบบที่ซับซ้อนมากข้ึน การเขียนภาษา HTML ก็ซับซ้อนยงิ่ ข้ึน เช่นกนั โปรแกรม Dreamweaver อาจจะไม่สามารถเขียนเวบ็ไดต้ามที่เราตอ้งการท้งัหมดวิธีการแกไ้ข ปัญหาที่ดีที่สุดคือ ควรจะเรียนรู้หลักการของภาษา HTML ไปดว้ย ซ่ึงถือวา่ เป็นสิ่งที่จา เป็นมากสา หรับ ผู้ที่ต้องการประกอบอาชีพ Webmaster แบบจริงจงั อาจจะไม่ตอ้งถึงกบั ท่องจา Tag ต่าง ๆ ไดท้ ้งัหมด แต่ขอให้รู้เขา้ใจหลกัการก็พอแลว้ เพราะหลาย ๆ คร้ังที่เราจะเขียนเวบ็ ใน Dreamweaver แล้วกลับ ได้ผลผิดเพ้ียนไป ไม่ตรงตามที่ตอ้งการ ก็ตอ้งมาแก้ไข Code HTML เอง และความสามารถของ Dreamweaver สรุปไดด้งัน้ี 1. สนับสนุนการท างานแบบ WYSIWYG (What You See Is What You Get) หมายความวา่ เว็บที่เราเขียนหน้าจอ Dreamweaver ก็จะแสดงแบบเดียวกบั เวบ็ เพจจริงๆ ช่วยใหเ้ราเขียนเวบ็ เพจง่าย ข้ึน ไม่ตอ้งเขียน Code HTML เอง 2. มีเครื่องมือในการช่วยสร้างเวบ็ เพจที่มีความยดืหยนุ่ สูง 3. สนบั สนุนภาษาสคริปตต์ ่างๆ ท้งัฝั่ง Client และ Server เช่น Java, ASP, PHP, CGI, VBScript 4. มีเครื่องมือในการ Upload หน้าเว็บเพจไปที่เครื่อง Server เพอื่ ทา การเผยแพร่งานที่เราสร้าง ในอินเทอร์เน็ต โดยการส่งผา่ น FTP หรือ โดยการใช้โปรแกรม FTP ภายนอกช่วยเช่น WS FTP 5. รองรับมัลติมีเดียเช่น การใส่เสียง, การแทรกไฟล์วิดีโอ, การใชง้านร่วมกบัโปรแกรม Flash